เส้นทางของทุกการแข่งขันปลายทางของมันล้วนมีอยู่เพียงอย่างเดียวนั่นก็คือ กาหาผู้ชนะ และนแนอนว่าบางทีการจะเป็นผู้ชนะก็ไม่ได้มากันแบบง่าย ๆ โดยเฉพาะการแข่งขันบาสเกตบอล NBA สำหรับใครที่บาสเกตบอลมาก็คงจะรู้กันดีว่าเส้นทางกว่าที่จะแชมป์ของแต่ละทีมนั้นไม่ได้ง่ายเลย เพราะว่าพวกเขาต้องทำผลงานให้ดีที่สุดในฤดูกาลปกติ เพื่อที่จะได้ลุ้นเข้ามารอบเพลย์ ออฟ เพื่อแข่งขันหาแชมป์ที่เป็นการดวลกันของสายตะวันตก และ สายตะวันออก แถมเกมการแข่งขันที่พวกเขาต้องเจอกันยังเป็นเกมการแข่งขันแบบที่ต้องชนะ 4 ใน 7 เกมอีกด้วย และแน่นอนละว่าง บรรดาเหล่าทีมใหญ่ ๆ ที่มีประวัติศาสตร์ของทีมมาอย่างยาวนานย่อมกลายเป็นที่จับตามองมากกว่า แต่ทว่าบางทีม้านอกสายตาเหล่านั้นก็อาจที่จะกลายเป็นผู้ยิ่งใหญ่ได้เช่นกัน เหมือนกับคู่ชิงในปี 2021 ซึ่งเป็นการเจอกันของ 2 ทีมที่หลาย ๆ คนไม่คาดคิด นั่นก็คือ ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์
หากใครที่ไม่ค่อยได้ติดตามกีฬาอย่างบาสเกตบอล NBA สักเท่า แค่เราเกริ่นชื่อของ 2 ทีมนี้ไป ก็อาจจะทำให้หลาย ๆ คนถึงกับ งง ว่า 2 ทีมนี้มันคืออะไรแล้วใช่ไหมละ เพราะว่าทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์ นั้นล้วนแล้วแต่มีผู้เล่นที่ที่แทบจะไม่เคยเข้ามายืนอยู่บนเวทีรอบชนะเลิศศึกบาสเกตบอล NBA เลยนั่นเอง
แต่ถ้าถามว่าสิ่งที่ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์เหมือนนกันมีอะไรอีก เราก็ขอตอบว่า สิ่งที่พวกเขามีเหมือนกันนั่นก็คือ ปรัชญาการทำทีม เพราะพวกเขาไม่ได้หวังเพิ่งบรรดาเหล่าซุเปอร์สตาร์ตามปรัชญาที่เราได้เห็นหลาย ๆ ทีมทำอยู่ตอนนี้อย่างการปั้น ซุปเปอร์ทีม แต่ทว่า ทั้ง ซันส์ และ บัคส์ ต่างก็ค่อย ๆ สร้างเหล่าด็กปั้นของพวกเขาขึ้นมาด้วยน้ำพัก น้ำแรง ของพวกเขาเอง
ซึ่งเส้นทางของฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์จะเป็นมาอย่างไร
เอาเป็นว่าเรามาเริ่มตั้งต้น และ ไปดูด้วยกัน
ตอนนี้ก็ถือเวลาที่เราจะมาศึกษาประวัติทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์ กันแล้ว โดยสำหรับ ฟีนิกซ์ ซันส์ เป็นทีมในโซนสายตะวันตก ที่แถบนั้นล้วนแล้วแต่มีทีมดัง ๆ อย่าง โกลเดน สเตท วอร์ริเออร์ส, ลอสแอนเจลิส เลเกอร์ส แต่ทว่าความแตกต่างของพวกเขาที่เหมือนกัน 2 ทีมที่เรากล่าไปก็คือ พวกเขาเป็นทีมเดียวที่ไม่ได้มาจากรัฐแคลิฟอร์เนีย
และหลังจากก่อตั้งขึ้นในปี 1968 ทางผู้บริหารก็ได้มอบหมายให้ เจอร์รี่ โคลันเจโล่ มาเป็นผู้จัดการทีม ในวัย 28 ปี ซึ่งในตอนนั้นเขาถือได้ว่าเป็นผู้จัดการทีมที่มีอายุน้อยที่สุด โดยวิธีการทำทีมของเขานั้นก็ค่อนข้างที่จะเป็นอะไรง่าย ๆ นั่นก็คือ การให้โอกาสกับเหล่านักกีฬาอายุน้อย และ นั่นเองก็ได้กลายมาเป็นรากฐานให้ทีมมาจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งการเปิดตัวครั้งแรกของพวกเขาบนเวที NBA นั้นก็ถือได้ว่าเป็นอะไรที่ค่อนข้างดี เนื่องจากพวกเขาสามารถที่จะเอาชนะทีมอย่าง ซีแอตเทิล ซูเปอร์โซนิคส์ หรือ โอกลาโฮม่า ซิตี้ ธันเดอร์ ในปัจจุบัน ไปได้ในเกมแรกด้วยสกอร์ 116-107 หลังจากนั้นพวกกเขาก็ยืนระยะในฐานะทีมที่คะแนนได้มากที่สุดจากฝั่งตะวันตกเป็นอันดับที่ 7 ทั้ง ๆ ที่เพิ่งก่อตั้งทีมขึ้นมาได้ไม่นาน และนี่ก็คือประวัติคร่าว ๆ ของการเกริ่นถึงทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์
และเมื่อเราพูดถึง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์ ดังนั้นครั้งนี้เรามาพูดถึง มิวลกี้ บัคส์
กันบ่าง ซึ่งทางด้าน มิลวอกี้ บัคส์ ถูกก่อตั้งในปี 1968 เช่นเดียวกับ ฟีนิกซ์ ซันส์ ทางฝั่งตะวันออก โดยแถบนั้นก็มีทีมชื่อดังมากมายไม่ว่าจะเป็น ชิคาโก้ บูลส์, คลีฟแลนด์ คาวาเลียร์
ทว่าน่าเสียดายที่ตัวของ บัคส์ เปิดตัวต้นฤดูกาลไม่ร้อนแรงเท่าทีมอย่า ฟีนิกซ์ ซันส์
เพราะว่าเกมเปิดตัวของพวกเขาต้องพบเจอกับทีมสุดโหดอย่าง ชิคาโก้ บูลส์ ซึ่งกว่าที่พวกเขาจะสามารคว้าชัยครั้งแรกของทีมก็ปาเข้าไปแล้วถึง 6 เกมด้วย โดยทีมที่พวกเขาสามารถเอาชนะได้นั่นก็คือ ทีมอย่าง ดีทรอยต์ พิสตัน และหลังจากจบฤดูกาลพวกเขาก็กลายเป็นทีมที่ทำคะแนนได้มากที่สุดอันดับ 7 จากฝั่งตะวันออก และนี่ก็คือประวัติคร่าว ๆ ของการเกริ่นถึงทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์
สำหรับทีมที่เพิ่งสร้างใหม่ทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์นั้นถือได้ว่าสามารถทำผลงานออกมาได้อย่างยอดเยี่ยม แต่ถึงแบบนั้นพวกเขาก็ยังไม่ค่อยกลายเป็นที่จดจำอยู่ดี แต่หลังจากนั้น ชื่อของ บัคส์ ก็ดังกระหึ่มขึ้น เมื่อ แลร์รี่ คอสเทลโล่ อดีตผู้เล่นแห่ง ฟิลาเดเฟีย เซเว่นตี้ซิกเซอร์ส ที่ผันตัวมาเป็นโค้ช สามารถพา เจ้ากวางตัวนี้ลุกตะลุยเข้าไปคว้าแชมป์ประจำฤดูกาลในปี 1971 ได้สำเร็จ ซึ่งมันค่อนข้างเป็นอะไรที่ช็อคแฟน ๆ อยู่พอสมควรเนื่องจากทีมนี้เพิ่งก่อตั้งมาได้เพียงแค่ 3 ฤดูกาลเท่านั้น โดยคีย์หลักที่สำคัญที่สุดในการคว้าแชมป์ในครั้งนี้ก็คงจะหนีไม่พ้น ผู้เล่นอย่าง คารีม อับดุล-จับบาร์ ที่ตอนนั้นเป็นดาวรุ่งที่ได้รับการดราฟท์เข้ามาเป็นเบอร์ 1 ของทีม ในขณะที่ทาง ซันส์ ก็เกือบจะทำได้แบบเดียวกัน เพราะว่าพวกเขาได้ทะลุเข้าไปสู่รอบชิงชนะเลิศในปี 1976 ซึ่งกำแพงที่ขวางพวกเขาอยู่นั่นก็คือ ทีมสุดแกร่งอย่าง บอสตัน เซลติกส์ ซึ่งพวกเขาก็ไม่อาจที่จะข้ามกำแพงนี้ไปได้ แต่ถึงแบบนั้นพวกเขาก็ยังได้รับเสียงชื่นชยว่า พวกเขาสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แม้จะไม่มีซุปเปอร์สตาร์ในทีมก็ตาม
อย่างที่เราบอกว่า การแข่งขันของ NBA จะถูกแบ่งออกเป็น 2 ครั้งนั่นก็คือ การแข่งขันฤดูกาลปกติ และ หลังจากนั้นจะคัดทีมที่ดีที่สุดของทางฝั่งตะวันตก และ ตะวันออก เพื่อเข้ามาแข่งขันกันในรอบ เพลย์ ออฟ เพื่อหาแชมป์ประจำฤดูกาลนั้น ๆ
ซึ่งส่วนใหญ่แล้วแต่ละทีมที่เข้ามาในรอบเพลย์ ออฟ นั้นล้วแล้วแต่เป็นทีมระดับซุปเปอร์ทีมเกือบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น จาก ลอสแอนเจลิส เลเกอร์ส , เซลติกส์ , บรูคลิน เน็ตส์ แต่ทว่าในฤดูกาล 2020 – 2021 มันกลัยไม่ได้เป็นแบบนั้นนี่สิ เพราะว่าส่วนใหญ่แล้วทีมที่เข้ามาในครั้งนี้กลับเป็นทีมที่ไม่เคยเป็นแชมป์ประจำฤดูกาลมาก่อน ไม่ว่าจะเป็น ยูท่าห์ แจ๊ซ, ลอสแอนเจลิส คลิปเปอร์ส, เดนเวอร์ นักเก็ตส์ แถมกลับกลายเป็นเวลาทีมที่อุดมไปด้วซุปเปอร์สตาร์ที่เรากล่าวไปข้างต้น ตกรอบแรกกันเกลี้ยง จนทำให้ทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์ เข้ามาสู่รอบลึก ๆ
แม้ว่าการเทรดเอาบรรดาเหล่าซุปเปอร์สต์เข้าทีมจะช่วยให้ทีมนั้นประสบความสำเร็จอย่างรวดเร้ว
แต่สำหรับ ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์ กลับไม่ได้มองแบบนั้น เพราะเขารู้สึกว่าการไม่ทำแบบนั้นจะทำให้ทีมนั้นประหยัดงบประมาณเพื่อนำไปใช้พัฒนาในจุดอื่น ๆ ให้ดีกว่าเดิม แถมมันยังทำให้บรรดาเหล่าผู้เล่นแต่ละคนรู้มือกันมากขึ้นเนื่องจากพวกเติบโตมาด้วยกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งมันก็คือกุญแจที่จะนำไปสู่ความเชื่อใจกัน และ ความหวังที่มีเหมือนกันนั่นก็คือ การไปคว้าชัย
แม้ว่าปรัชญาการทำทีมของทั้ง ฟีนิกซ์ ซันส์ และ มิวลกี้ บัคส์จะเหมือนกันก็ตามที แต่สุดท้ายแล้วมันก็ต้องมีหนึ่งเดียวเป็นผู้ชนะ และ ก็เป็นฝ่ายของ มิลวอกี้ บัคส์ ที่สามารถทำได้ดีกว่า และ คว้าแชมป์ประจำฤดูกาล 2021 ไปจนได้ ซึ่งการคว้าแชมป์ของบัคส์ ครั้งนี้มันเหมือนเป็นภาพสะท้อนให้เราได้เห็นว่า บางทีการสร้างทีมด้วยปรัชญาของการทำซุปเปอร์ทีม ก็ไม่ได้จำเป็นเสมอไป dunkswin9
เครดิต : เว็บสล็อต